Sabiia Seb
PortuguêsEspañolEnglish
Embrapa
        Busca avançada

Botão Atualizar


Botão Atualizar

Registro completo
Provedor de dados:  Thai Agricultural
País:  Thailand
Título:  ผลของเอนไซม์ย่อยเยื่อใยที่ใช้กากมะเขือเทศเป็นแหล่งเยื่อใย ต่อคุณภาพซากในไก่งวง
Effect of fibrolytic enzyme and tomato pomace as a fiber sources on carcass quality of turkeys
Autores:  Kessara Ampaporn
Smerjai Bureenok
Kraisit Vasupen
Chalermpon Yuangklang
Benya Seanmahayak
Data:  2015-05-28
Ano:  2014
Palavras-chave:  Turkeys
Tomato pomace
Animal feeding
Supplementation
Fiber source
Protein source
Control diet
Digestion
Fibrolytic enzymes
Growth rate
Carcass quality
ไก่งวง
กากมะเขื่อเทศ
อาหารสัตว์
อาหารเสริม
วัตถุดิบอาหารสัตว์
แหล่งเยื่อใยในอาหาร
แหล่งโปรตีน
คุณค่าทางโภชนะ
การย่อยอาหาร
เอนไซม์ย่อยเยื่อใย
สมรรถภาพการผลิต
คุณภาพซาก
Resumo:  In this study, the influence of fibrolytic enzymes in diet contained tomato pomace as a fiber sources on carcass quality of 2 month old turkeys was assessed. A total of 24 birds were arranged in a completely randomized design (CRD). The birds were assigned to 4 dietary treatments: control diet (T1), control diet + 0.2% of fibrolytic enzymes (T2), control diet + 10% of tomato pomace (T3), and control diet + 0.2% of fibrolytic enzymes + 10% of tomato pomace (T4). The results were shown that the carcass quality and breast weight of all groups were no t difference (P>0.05). For meat color, the redness color (a* value) and yellowness color (b* value) of breast were higher in birds fed control diet + 10% of tomato pomace (T3) and control diet + 0.2% of fibrolytic enzymes + 10% of tomato pomace (T4) compared to those fed control diet (T1) and control diet + 0.2% of fibrolytic enzymes (T2). Supplementation of 10% tomato pomace together with 0.2% fibrolytic enzyme influenced feed efficiency and reduces color of breast meat in turkey.

ศึกษาผลของการใช้เอนไซม์ย่อยเยื่อใยในอาหารที่ใช้กากมะเขือเทศเป็นแหล่งเยื่อใยต่อคุณภาพซากในไก่งวง อายุ 2 เดือน จำนวน 24 ตัว วางแผนการทดลองแบบสุ่มสมบูรณ์ (Completely Randomized Design; CRD) แบ่งอาหารทดลองเป็น 4 กลุ่ม ดังนี้ กลุ่มอาหารควบคุม (T1), กลุ่มอาหารควบคุมเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใย 0.2% (T2), กลุ่มอาหารควบคุมเสริมกากมะเขือเทศ 10% (T3) และกลุ่มอาหารควบคุมเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใย 0.2% ร่วมกับกากมะเขือเทศ 10% (T4) พบว่า คุณภาพซากและน้ำหนักเนื้ออกของไก่งวงทั้ง 4 กลุ่ม ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ (P>0.05) สำหรับค่าสีแดง (a*) และสีเหลือง (b*) ของเนื้ออก ไก่งวงของกลุ่มอาหารควบคุมเสริมกากมะเขือเทศ 10% (T3) และกลุ่มอาหารควบคุมเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใย 0.2% ร่วมกับกากมะเขือเทศ 10% (T4) มีค่าสูงกว่ากลุ่มอาหารควบคุม (T1) และกลุ่มอาหารควบคุมเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใย (T2) สรุปผลการศึกษาครั้งนี้พบว่า การเสริมเอนไซม์ย่อยเยื่อใยระดับ 0.2% ร่วมกับกากมะเขือเทศระดับ 10% มีผลต่อประสิทธิภาพการใช้อาหารและค่าสีแดงของเนื้ออกไก่งวง การเสริมกาก มะเขือเทศในอาหาร ทำให้เนื้ออกของไก่งวงมีสีแดงและสีเหลืองมากขึ้น
Tipo:  PhysicalObject
Idioma:  Thailandês
Identificador:  ISSN 0125-0485

http://anchan.lib.ku.ac.th/agnet/handle/001/5764

Khon Kaen Agriculture Journal (Thailand), ISSN 0125-0485, 2014, V. 42, Suppl. 1, p. 317-322

แก่นเกษตร, ISSN 0125-0485, 2557, ปีที่ 42, ฉบับพิเศษ 1, หน้า 317-322
Direitos:  ลิขสิทธิ์เป็นของเจ้าของบทความแต่เพียงผู้เดียว

สงวนลิขสิทธิ์ตามพระราชบัญญัติลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

เอกสารนี้สงวนไว้สำหรับการใช้งานเพื่อการศึกษาเท่านั้น ไม่อนุญาตให้นำไปใช้ประโยชน์ด้านการค้า ไม่ว่ากรณีใดๆ ทั้งสิ้น อีกทั้งห้ามมิให้ดัดแปลงเนื้อหา และต้องอ้างอิงถึงเจ้าของเอกสารทุกครั้งที่มีการนำไปใช้
Fechar
 

Empresa Brasileira de Pesquisa Agropecuária - Embrapa
Todos os direitos reservados, conforme Lei n° 9.610
Política de Privacidade
Área restrita

Embrapa
Parque Estação Biológica - PqEB s/n°
Brasília, DF - Brasil - CEP 70770-901
Fone: (61) 3448-4433 - Fax: (61) 3448-4890 / 3448-4891 SAC: https://www.embrapa.br/fale-conosco

Valid HTML 4.01 Transitional